คีย์แพ้ยาJHCIS

สามารถคีย์ได้ 2 ที่ คือ ในหน้าประชากรและหน้าบริการ
1.เข้าข้อมูลพื้นฐาน /ประชากร

2.double click แพ้ยา/อาหาร

3.ในช่องแรก ชื่อยาและช่องวันที่ ให้เลือกตามความเป็นจริง ส่วนช่อง "ประเภทการวินิจฉัย" ตามนี้
     1.certain  = ใช่แน่นอน
     2.probable = น่าจะใช่
     3.possible = อาจจะใช่
     4.unlikely = ไม่น่าใช่
     5.unclassified = ไม่สามารถระบุระดับ

4.ระดับความรุนแรง 8 ระดับ
     1.ไม่ร้ายแรง (Non-serious)
     2.ร้ายแรง-เสียชีวิต(Death)
     3.ร้ายแรง-อันตรายถึงชีวิต(Life-threatening)
     4.ร้ายแรง-ต้องรับการรักษาในโรงพยาบาล(Hospitalization-initial)
     5.ร้ายแรง-ทำให้เพิ่มระยะเวลารักษานานขึ้น(Hospitalizationprolonged)
     6.ร้ายแรง-พิการ(Disability)
     7.ร้ายแรง-เป็นเหตุให้เกิดความพผิดปกติแต่กำเนิด(Congenital anomaly)
     8.ร้ายแรง-อื่นๆ(Other-serious)

5.ลักษณะอาการแพ้ยา 39 ลักษณะ
รายละเอียด ดังนี้
ลำดับ - ICD10 - symtomname - diseasenamethai
01=D59.0-Drug-induced autoimmune hemolytic anemia-โลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกชนิดจากภูมิต้านตนเองที่เป็นผลจากยา
02=D59.2-Drug-induced non autoimmune hemolytic anemia-โลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกชนิดไม่เกิดจากภูมิต้านทานตนเองที่เป็นผลจากยา
03=D60.1-Transient acquired pure red cell aplasic-ภาวะไม่มีการสร้างเฉพาะเม็ดเลือดแดงที่เกิดภายหลัง แบบชั่วคราว
04=D61.1-Drug-induced aplastic anemia-โลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อที่เป็นผลจากยา
05=D64.2-Secondary sideroblastic anemia due to drugs and toxic-โลหิตจางแบบซิเดโรบลาสติกชนิดทุติยภูมิที่เกิดจากยาและสารพิษ
06=D68.3-Haemorrhagic disorders due to circulating anticoagulants-เลือดออกผิดปกติจากมีสารต่อต้านการแข็งตัวในกระแสเลือด
07=D70-Agranolocytosis-ภาวะแกรนูโลไซต์น้อย
08=G21.0-Malignant neuroleptic syndrome-กลุ่มอาการแบบร้ายจากยารักษาโรคจิต
09=G21.1-Other drugs-induced secondary parkinsonism-พาร์คินโซนีซึมแบบทุติยภูมิอื่นที่เกิดจากยา
10=G25.1-Drug-induced tremor-อาการสั่นจากยา
11=G25.6-Drug-induced tremor and other tias of organic crign-ติ๊กจากยาและติ๊กจาสาเหตุทางกายแบบอื่น
12=G44.4-Drugs- induced headocin, not elsewhere-ปวดศีรษะจากยา มิได้จำแนกไว้ที่ใด
13=G72.0-Drugs – induced myopathy classified-โรคของกล้ามเนื้อจากยา
14=G93-Toxic encephalopathy-ความผิดปกติอื่นของสมอง
15=H40.6-glaucon secondary to drugs-ต้อหินแบบทุติยภูมิจากยา
16=H26.3-Drug-induced catarat-ต้อกระจกที่เกิดจากยา
17=I42.7-Cardiomyopathy due to drugs and other external drugs-โรคกล้ามเนื้อหัวใจจากยาและสารภายนอกอื่น
18=I95.2-Hypotension due to drugs-ความดันโลหิตต่ำจากยา
19=L23.3-Allergic contact dermatitis due to drugs in contact With skin-ผิวหนังอักเสบจากสัมผัสภูมิแพ้ที่เกิดจากยาที่สัมผัสผิวหนัง
20=L24.4-Irritant contact dermatitis due to drugs in contact with skin-ผิวหนังอักเสบจากสัมผัสระคายเคืองที่เกิดจากยาที่สัมผัสผิวหนัง
21=L25.1-Unspecified contact dermatitis due to drugs in contact with skin-ผิวหนังอักเสบจากสัมผัสไม่ระบุรายละเอียดที่เกิดจากยาที่สัมผัสผิวหนัง
22=L26-Exfoliative dermatitis-ผิวหนังอักเสบลอกเป็นขุยทั่วทั้งตัว
23=L27.0-Generalized skin eruption due to drugs and medicaments-ผื่นที่ผิวหนังทั่วไปจากยาและตัวยา
24=L27.10-Fixed drugs eruption-ผื่นแบบฟิกซ์ ดรัก
25=L27.18-Other specified localized skin eruption due to drugs and medicaments-ผื่นที่ผิวหนังเฉพาะที่แบบอื่นที่ระบุรายละเอียดจากยาและตัวยา
26=L27.19-Localized skin eruption due to drugs and medicaments, unspecified-ผื่นที่ผิวหนังเฉพาะที่จากยาและตัวยา ไม่ระบุรายละเอียด
27=L50.0-Allergic urticaria-ลมพิษจากภูมิแพ้
28=L50.6-Contact urticaria-ลมพิษจากการสัมผัส
29=L51.0-Nombullous erythema multiforne-อีริทีมา มัลติฟอร์เม แบบไม่มีตุ่มน้ำพองใส
30=L51.1-Bullous erythema multiforme-อีริทีมา มัลติฟอร์เม แบบมีตุ่มน้ำพองใส
31=L51.8-Other erythema multifonme-อีริทิมา มัลติฟอร์เม แบบอื่น
32=L51.9-Erythema multiforme, unspecified-อีริทิมา มัลติฟอร์เม ไม่ระบุรายละเอียด
33=M10.2-Drug-induced gout-โรคเกาต์จากยา
34=M62.8-Rhabdornylysis-ความผิดปกติอื่นที่ระบุรายละเอียดของกล้ามเนื้อ
35=M80.4-Drug-induced osteoporosis with pathological factors-โรคกระดูกพรุนจากยาร่วมกับกระดูกหักที่มีพยาธิสภาพ
36=M81.4-Drug-induced osteoporosis-โรคกระดูกพรุนจากยา
37=N14.0-Analgesic  nephropatic-โรคไตจากยาระงับปวด
38=N14.1-Nephropathy induced by other drugs, medicaments and biological substuces-โรคไตจากยาอื่น ตัวยา และสารชีวภาพ
39=N14.2-toxic nephropathy, not elsewhere classified-โรคไตจากยา ตัวยา และสารชีวภาพที่ไม่ระบุรายละเอียด

6.ประเภทผู้ให้ประวัติแพ้ยา มี 4 อย่าง แยกได้ ดังนี้
     1.ผู้ป่วยบอกเอง >> คือผู้ป่วยแจ้งกับสถานบริการเราเอง "ว่าแพ้ยา"
     2.ผู้ป่วยบอกจาก รพ.อื่นแจ้ง >> คือ ผู้ป้วยแจ้งที่ รพ.อื่นว่าแพ้ยา แล้ว รพ.แห่งนั้นส่งข้อมูลแพ้ยาให้สถานบริการเราทราบ
     3.รพ.อื่นแจ้ง>> คือ ข้อมูลยืนยันจาก ทะเบียนแพ้ยาที่ รพ.อื่นแจ้งมาที่เรา
     4.รพ.นี้พบการแพ้ยา

7.้สถานบริการที่ให้ข้อมูลการแพ้ยา >> เลือกค้นหาด้วยรหัส

8.เมื่อคีย์แพ้ยาครบทุกช่องแล้วหาก มีการจ่ายยาที่ถูกระบุว่าผู้ป่วยแพ้ยา โปรแกรม JHCIS ก็จะมีPOP-UPเด้งขั้นมาเตือน ดังนี้
...........................................................
scpt ที่เกี่ยวข้อง
 1.scpt อาการแพ้ยา 39 ลักษณะ ตามนี้
.................................................................
SELECT
cg.symtomcode,
cg.symtomname,
cg.icd10tm,
cdd.diseasenamethai
FROM cdrugallergysymtom cg
INNER JOIN cdisease cdd ON cg.icd10tm=cdd.diseasecode;
.................................................................
2.scpt รายชื่อผู้ป่วยแพ้ยา ตามนี้
.................................................................
SELECT p.pid,c.titlename,p.fname,p.lname,h.hno AS'เลขที่',Right(h.villcode,2) AS'หมู่ที่',
pa.drugcode,cd.drugname,pa.daterecord AS'วันที่บันทึกการแพ้ยา',CASE WHEN pa.typedx = '1' THEN 'certain'
WHEN pa.typedx = '2' THEN 'probable' WHEN pa.typedx = '3' THEN 'possible' WHEN pa.typedx = '4'
 THEN 'unlikely' WHEN pa.typedx = '5' THEN 'unclassified' ELSE ''END AS'ประเภทการวินิจฉัย',
CASE WHEN pa.levelalergic = '1' then 'ไม่ร้ายแรง' WHEN pa.levelalergic = '2' then 'ร้ายแรง-เสียชีวิต'
WHEN pa.levelalergic = '3' then 'ร้ายแรง-อันตรายถึงชีวิต' WHEN pa.levelalergic = '4'
then 'ร้ายแรง-ต้องรับการรักษาในโรงพยาบาล' WHEN pa.levelalergic = '5' then 'ร้ายแรง-ทำให้เพิ่มระยะเวลารักษานานขึ้น'
WHEN pa.levelalergic = '6' then 'ร้ายแรง-พิการ' WHEN pa.levelalergic = '7' then
'ร้ายแรง-เป็นเหตุให้เกิดความพผิดปกติแต่กำเนิด' WHEN pa.levelalergic = '8' then 'ร้ายแรง-อื่นๆ'
ELSE '' END AS'ระดับความรุนแรง',ci.diseasenamethai AS'ลักษณะอาการแพ้',CASE WHEN pa.informant
= '1' THEN 'ผู้ป่วยบอกเอง' WHEN pa.informant = '2' THEN 'ผู้ป่วยบอกจาก รพ.อื่นแจ้ง' WHEN pa.informant
= '3' THEN 'รพ.อื่นแจ้ง' WHEN pa.informant = '4' THEN 'รพ.นี้พบการแพ้ยา'  ELSE '' END AS'ผู้ให้ประวัติแพ้ยา',
ch.hosname AS'รพ.ที่แจ้ง' FROM person p INNER JOIN ctitle c ON p.prename = c.titlecode INNER JOIN
 house h ON p.hcode = h.hcode INNER JOIN personalergic pa ON p.pid=pa.pid INNER JOIN
 chospital ch ON pa.informhosp = ch.hoscode INNER JOIN cdrugallergysymtom cg ON pa.symptom
 = cg.symtomcode INNER JOIN cdisease ci ON cg.icd10tm = ci.diseasecode INNER JOIN
cdrug cd ON pa.drugcode = cd.drugcode WHERE p.pid NOT IN (SELECT pd.pid FROM persondeath pd)
ORDER BY h.villcode;
.................................................................

            ฝากไว้โดยเฉพาะแห่งที่ผ่านมาตรฐาน รพ.สต.ระดับ 5 ดาว และที่จะปรับ เป็น PCC ข้อมูลแพ้ยาต้องแม่น เพราะผู้ที่จะมาใช้โปรแกรมจะไม่ใช่เฉพาะ จนท.ใน รพ.สต. อาจเป็นแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัชฯ จาก รพ.อื่นมาร่วมให้บริการจ้า

@@@ร่วมใจทำดีเพื่อตอบแทนแผ่นดิน@@@


link ที่เกี่ยวข้อง



ไม่มีความคิดเห็น:

https://www.blogs

 kllgnsgkj[jtlm'oahd bfldkb'pdojgaojp mfigjdo;sjgaij misjgo;sjagijwo;