v/sตัวที่ 5 O2satruation

การวัด O2sat ต้องใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน รวมถึงผู้วัดต้องเข้าใจในการใช้เครื่องมือนั้น ปัจจุบัน ใน รพ.สต.ทุกแห่งต้องมี เครื่องมือ ที่เรียกว่า Fingertip Pulse Oximeter (วัดค่า O2sat )

หมายเหตุ:

ค่าออกซิเ จนในเลือด (SpO2) : ต่ำกว่า 95% หมายถึง ค่าออกซิเจนในเลือดต่ำกว่ามาตรฐาน

ค่าชีพจร (Pulse Rate) : น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 100 ครั้ง/นาที หมายถึงค่าชีพจรผิดปกติ

กลุ่มโรคหรืออาการที่ควรใช้เครื่องวัด O2sat  >> ดังนี้

  1. หายใจเร็ว เหนื่อย หอบ
  2. โรคหัวใจ และหลอดเลือด
  3. โรคหอบหืด และ copd
  4. อุบัติเหตุ ทุกประเภท
  5. ได้รับสารพิษทั้งจากสารเคมี หรือสารจากธรรมชาติ
  6. การทำร้ายตัวเองหรือพยายามฆ่าตัวตาย
  7. อื่นๆตาม orderแพทย์

ปัญหาคือ 

1.ตรวจวัดแล้วให้ลงใน jhcisได้ตรงไหน

>>ตรงนี้จ้า

2.สามารถดูรายงานได้ที่โหมดใด(ตอนนี้ยังไม่มีหน้ารายงานจ้า) 

>>ให้ใช้scpt รันดูไปพลางก่อน ตามนี้จ้า

............................

SELECT v.pid,v.visitno,c.titlename,p.fname,p.lname,v.visitdate,v.symptoms,v.pressure,v.pulse,v.temperature,v.respri,v.o2satuation,v.symptomsco  FROM visit v INNER JOIN person p ON v.pid=p.pid INNER JOIN ctitle c ON p.prename=c.titlecode WHERE v.visitdate BETWEEN '2020-01-01'AND CURDATE() AND v.o2satuation IS NOT NULL ORDER BY v.visitdate DESC;

..............................

สรุป คือ

O2sat ณ วันนี้ใน รพ.สต.มีความจำเป็นที่ต้องใช้ร่วมกับV/S ตัวอื่นๆ เพื่อการประเมินผู้ป่วยที่เข้าข่ายตามdefinition (ด้านบน) ซึ่งจะเพิ่มความแม่นยำในการวินิจฉัยโรคและการcareผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดจ้า 

ขอขอบคุณ websiteดีดี www.adlerthailand.com และ บทความของ บดินทร ิ ์ ขวัญนิ มิตร ,Faculty of Medicine, Prince of Songkla University

linkที่เกี่ยวข้อง

1.หลักการทำงานของเครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว
2.การวัดความอิ่มตัวออกซิเจนของฮีโมโกลบินจากชีพจร

............@@ก้าวเดินทีละก้าวด้วยความมุ่งมั่นสู่เป้าหมาย ดีกว่าเป็นนักวิ่งที่เร็วสุดๆแล้วอาจต้องมาสะดุดขาตัวเอง อิอิ@@........



ไม่มีความคิดเห็น:

https://www.blogs

 kllgnsgkj[jtlm'oahd bfldkb'pdojgaojp mfigjdo;sjgaij misjgo;sjagijwo;